|
|
|
|
 |
ประวัติความเป็นมา |
 |
|
|
|
|
พิจิตรเป็นเมืองเก่าแก่ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1601
ในสมัยสุโขทัย ปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักที่ 1
ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ในศิลาจารึกหลักที่ 8
รัชกาลพระยาลิไท และจากพงศาวดารเหนือ
พระยาโคตรตะบองได้ย้ายเมืองจากนครไชยบวร
มาตั้งที่หมู่บ้านสระหลวง โดยได้เริ่มฝังหลักเมือง
|
|
|
และได้เปลี่ยนชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองสระหลวง ซึ่งมีสถานะเป็นหัวเมืองเอกของกรุงสุโขทัย ต่อมาในสมัยอยุธยา รัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เปลี่ยนชื่อเป็น เมืองโอฆบุรี ซึ่งแปลว่า "เมืองในท้องน้ำ" และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น เมืองพิจิตร ซึ่งมีความหมายว่า "เมืองงาม" จนถึงปัจจุบัน |
เทศบาลเมืองพิจิตรเดิมเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดพิจิตร ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น
เทศบาลเมืองพิจิตร เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2479 มีพื้นที่เขตเทศบาล 1.88 ตารางกิโลเมตร
ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้มีพระราชกฤษฎีกาลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2499 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองพิจิตร
เป็น 3.17 ตารางกิโลเมตร และในปี พ.ศ. 2512 ได้มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองพิจิตร
เป็น 12.017 ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลปากทาง อำเภอเมืองพิจิตร |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลท่าหลวง อำเภอเมืองพิจิตร |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลปากทาง อำเภอเมืองพิจิตร
ตำบลท่าหลวง อำเภอเมืองพิจิตร |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลคลองคะเชนทร์ อำเภอเมืองพิจิตร |
|
|
|
|
การประกอบอาชีพของประชาชนในชุมชน ได้แก่ |

 |
รับราชการ |

 |
ค้าขาย |

 |
รับจ้างทั่วไป |

 |
เกษตรกร |

 |
พนักงานของรัฐวิสาหกิจ |
|
|
|
|
|
โดยทั่วไปของเทศบาลพิจิตรเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำน่านไหลผ่าน |
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลปากทาง อำเภอเมืองพิจิตร |
ตำบลคลองคะเชนทร์ อำเภอเมืองพิจิตร |
คลองคะเชนทร์นอก
คลองคะเชนทร์ใน
ราชรถ
พิจิตรธานี
ประชาอุทิศ
สระหลวง
ตลาดสดเทศบาล 2
บุษบา
ตลาดสดเทศบาล 1
ฝั่งสถานีรถไฟใต้
กลางเมือง
บึงสีไฟตอนบน
ราชวิถี
วัดท่าหลวง
ปากคลองท่าหลวง
ประตูน้ำคลองท่าหลวง
บึงสีไฟตอนล่าง
หน้าบึงสีไฟ
ศรีมาลา
ขุนแผน
ศาลเจ้าพ่อหลวง
หลังสถานีรถไฟ
หน้าและหลังสถานีรถไฟ
ฝั่งสถานีรถไฟเหนือ
ปากทาง
|
ตำบลปากทาง อ.เมืองพิจิตร
ตำบลท่าหลวง อ.เมืองพิจิตร |
ตำบลท่าหลวง อำเภอเมืองพิจิตร |
|
|
|
|
จำนวนประชากรทั้งหมด 21,182 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 9,934 คน |
คิดเป็นร้อยละ 46.90 |

 |
หญิง จำนวน 11,248 คน |
คิดเป็นร้อยละ 53.10 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 11,664 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 1,762.66 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
จำนวนประชากรรายเดือนในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร |
|
เดือนปี (พ.ศ.2563) |
ชาย |
หญิง |
รวม |
มกราคม |
10,041 |
11,312 |
21,353 |
กุมภาพันธ์ |
10,037 |
11,302 |
21,339 |
มีนาคม |
10,029 |
11,312 |
21,341 |
เมษายน |
10,031 |
11,297 |
21,328 |
พฤษภาคม |
10,021 |
11,300 |
21,321 |
มิถุนายน |
10,007 |
11,293 |
21,300 |
กรกฏาคม |
10,018 |
11,287 |
21,305 |
สิงหาคม |
9,995 |
11,295 |
21,290 |
กันยายน |
9,984 |
11,267 |
21,251 |
ตุลาคม |
9,978 |
11,249 |
21,227 |
พฤศจิกายน |
9,956 |
11,251 |
21,207 |
ธันวาคม |
9,934 |
11,248 |
21,182 |
จำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งอายุ 18 ปี |
7,489 |
8,887 |
16,376 |
|
|
|
|
เทศบาลเมืองพิจิตร |
ยินดีรับใช้ประชาชนด้วยความเต็มใจ |
|
|
|
 |
|
"เทศบาลเมืองพิจิตร" เมืองน่าอยู่ มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน |
ด้วยการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|